ตอนที่ ๕ (ชุดที่ ๒) เรื่องรูปปรมัตถ์
|
||
|
||
|
||
|
||
|
||
|
๑. รูปที่เกิดจากกรรม (กรรมสมุฎฐาน)
ขยายความ | ||
|
||
|
||
|
๒. รูปที่เกิดจากจิต (จิตตสมุฎฐาน)
|
|||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||
|
๓. รูปที่เกิดจากอุตุ (อุตุสมุฎฐาน)
คำว่า อุตุ ในที่นี้ได้แก่ความเย็นและความร้อน คือ ธาตุไฟ นั่นเอง ความร้อน เรียกว่า อุณหเตโช ความเย็น เรียกว่า สีตเตโช อุตุนี้เป็นต้นเหตุหรือสมุฏฐานทำให้เกิดรูปขึ้นได้ทั้งในสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต ทำให้เกิดเป็นพลังความร้อนขึ้นในร่างกาย และเกิดขึ้นตั้งแต่ ฐีติขณะของปฏิสนธิจิต เรื่อยมาจนกระทั่งเป็นซากศพ (จิตดวงหนึ่ง ๆ มี ๓ ขณะ คือ อุปาทักขณะ ฐีติขณะ และ ภังคักขณะ) คือ ขณะเกิดขึ้น ขณะตั้งอยู่ และขณะดับไป เรียกว่า อนุขณะของจิต | ||||||||||||||||||
|
๔. รูปที่เกิดจากอาหาร (อาหารสมุฎฐาน)
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รูปร่างกายของมนุษย์ สัตว์ เทวดา พรหม ถ้าเราไม่ได้ศึกษาเรื่อง รูปปรมัตถ์ แล้ว จะเข้าใจว่า สิ่งที่ทำ ให้ร่างกายเจริญเติบโต และมีชีวิตอยู่ได้คืออาหารอย่างเดียว แต่ที่แท้จริงแล้วต้องอาศัยอีก ๓ อย่าง คือ กรรม จิต และอุตุ ดังได้กล่าวมาแล้ว ในทำนองเดียวกันการเจ็บไข้ได้ป่วยของคนเรา ก็เกิดจาก กรรม จิต อุตุ อาหาร เช่นเดียวกัน โรคที่เกิดจากกรรมเมื่อหมดกรรมก็มีเหตุให้ได้พบกับหมอดี พยาบาลดี ยาดี ทำให้โรคหายได้เป็นต้น |
หมวดที่ ๔ รูปกลาป
|
||||||||||||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||||||||||||
เมื่อพิจารณาตามลักษณะการเกิดขึ้นของรูปกลาป ทั้ง ๒๑ กลาป (กลุ่ม) แล้ว แบ่งได้ ๔ อย่าง คือ | ||||||||||||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||||||||||||
ดูภาพสมมุติประกอบ | ||||||||||||||||||||||||||||
|
กรรมชกลาป ๙
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ดูภาพสมมุติประกอบ (แสดงจำนวนรูปที่รวมเป็นกลาปหนึ่ง ๆ)
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ที่อยู่ของกลุ่มรูป (กลาป)
ที่เกิดจากกรรมในร่างกาย
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ในจำนวนรูปกลาปที่เกิดจากกรรม จะเกิดเป็นกลุ่ม ๆ อยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเพื่อทำหน้าที่ของตน ๆ โดยเฉพาะเท่านั้น เช่น กลุ่มรูปที่เกิดที่ตาก็ทำหน้าที่เหมือนจอภาพสำหรับให้รูปารมณ์ (สี) ปรากฏเท่านั้น จะทำหน้าที่อย่างอื่นไม่ได้ เช่น จะใช้ตา (จักขุทสกกลาป) ไปฟังเสียงแทนหู (โสตทสกกลาป) ไม่ได้ เป็นต้น | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ที่อยู่ที่ทำงานของกรรมชกลาป ๙ ในร่างกายคนเรา อยู่ตามส่วนต่าง ๆ ดังนี้ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
จิตตชกลาป ๖
จิตตชกลาป คือ กลุ่มของรูปที่เกิดจากจิตเป็นสมุฏฐาน ในจำนวนรูปกลาป ๒๑ กลุ่ม กลุ่มรูปที่เกิดจากอำนาจของจิตก็มี เช่น เวลาที่คนเราหัวเราะ (รูปหัวเราะ) ก็เกิดด้วยอำนาจของความดีใจ พอใจ ถูกใจ (โสมนัส) นั่นเอง อาการที่แสดงออกมา จะผิดกับการร้องไห้ ซึ่งเกิดจากจิตที่เศร้าใจเสียใจ (โทสะ) ดังนั้นกลุ่มรูปที่แสดงออกมา ในลักษณะต่าง ๆ ให้เราเห็นนั้น ก็เกิดขึ้นจากอำนาจของจิตนั่นเอง หรือมีจิตเป็นสมุฏฐานให้เกิด รูปที่เกิดขึ้นจากจิต หรือจากอำนาจของจิตนี้ มี ๖ กลุ่ม (กลาป) คือ | ||||||
|
||||||
|
||||||
|
||||||
|
||||||
|
||||||
|
||||||
|
||||||
|
อุตุชกลาป ๔
อุตุชกลาป คือ กลุ่มของรูปที่เกิดมาจากอุตุ คือ ความเย็น และความร้อน เป็นสมุฏฐาน เกิดได้ทั้งภายในร่างกาย และภายนอกร่างกาย คือเกิดได้ทั้งในสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต ถ้าในสิ่งที่มีชีวิตอุตุชกลาปย่อมเกิดได้ทั้งหมด ๔ กลาป ถ้าภายนอกตัวคนสัตว์จะเกิดได้เพียง ๒ กลาปเท่านั้น | ||
อุตุชกลาป มี ๔ กลุ่ม (กลาป) คือ | ||
|
||
|
||
|
||
|
อาหารชกลาป ๒
อาหารชกลาป คือ กลุ่มรูปที่เกิดจากอาหาร คนสัตว์จะมีชีวิตอยู่ได้ก็ต้องอาศัยอาหารทั้งนั้น อาหารมีทั้งชนิดที่
เป็นรูป เรียกว่า รูปอาหาร และอาหารที่เป็นนาม เรียกว่า นามอาหาร รูปอาหาร ก็คืออาหารที่เรารับประทานเข้า ไปเป็นคำ ๆ เรียกว่า กพฬีการาหาร เช่น ข้าว น้ำ ยา หรือวิตามินต่าง ๆ ทำให้ร่างกายเจริญเติบโตได้ ส่วนนามอาหาร มี ๓ คือ ผัสสาหาร มโนสัณเจตนาหาร และวิญญาณาหาร จะได้ขยายความในโอกาสต่อไป เราจะศึกษา รูปอาหาร ก่อน รูปอาหารเมื่อจัดเป็นกลาปแล้ว ได้ ๒ กลาป คือ |
||
|
||
|
หมวดที่ ๕ รูปปวัตติมนัย
|
||||||||||
๑. ตามนัยแห่งภูมิ
|
||||||||||
ภูมิอันเป็นที่เกิดของสรรพสัตว์ทั้งหลาย มี ๓๑ ภูมิ (แห่ง) เป็นภูมิที่มีทั้งรูปนามขันธ์ ๕ มี ๒๗ ภูมิ คือ อบายภูมิ ๔ มนุษย์ ๑ เทวดา ๖ รูปพรหม ๑๕ อสัญญสัตตพรหม ๑ ส่วนอรูปภูมิ ๔ ไม่มีรูป มีนามขันธ์อย่าง เดียว | ||||||||||
ใน อบายภูมิ มนุษย์ เทวดา รูปเกิดได้ทั้งหมด ๒๘ รูป (๒๗ รูป ถ้าเป็นชาย ก็เว้นรูปที่เป็นหญิง ถ้าเป็นหญิงก็เว้นรูปที่เป็นชาย) หรืออาจขาดตกบกพร่องไปบ้าง ในกรณีที่เป็นผู้ตาบอด หรือหูหนวกเป็นต้น | ||||||||||
ใน รูปภูมิ รูปเกิดได้ ๒๓ รูป ขาดไป ๕ รูป คือ ฆานปสาทรูป(ประสาทจมูก) ชิวหาปสาทรูป (ประสาทลิ้น) กายปสาทรูป (ประสาทกาย) อิตถีภาวรูป(ความเป็นหญิง) และปุริสภาวรูป(ความเป็นชาย) เพราะเห็นว่ารูปทั้ง ๕ ไม่เกื้อกูลแก่การทำฌาน | ||||||||||
ใน
อสัญญสัตตพรหม หรือชาวบ้านเรียกกันว่า พรหมลูกฟัก มีแต่รูปเพียง ๑๗ รูปเท่านั้น ไม่มีนาม จึงเคลื่อนไหวไม่ได้ไม่มีความรู้สึก เหมือนพระพุทธรูป หรือหุ่น เมื่อหมดอายุ ๕๐๐
มหากัป นามก็จะเกิดขึ้นมาเอง แล้วนำเกิดในภพใหม่ชาติใหม่ต่อไป ๑๗ รูปคือ อวินิพโภครูป ๘ ชีวิตรูป ๑ ปริจเฉทรูป ๑ วิการรูป ๓ และลักขณรูป ๔ |
||||||||||
ใน อรูปภูมิ มีแต่นามอย่างเดียว ไม่มีรูปเลย ตรงข้ามกับอสัญญสัตตพรหม ซึ่งมีแต่รูปอย่างเดียวไม่มีนาม ด้วยอำนาจของการเจริญปัญจมฌาน แล้วไม่ปรารถนาจะมีรูป เพราะเบื่อหน่ายในรูปขันธ์ ที่ต้องบำรุงดูแลรักษายุ่งยากมาก | ||||||||||
ดูแผนภูมิประกอบ
|
||||||||||
|
||||||||||
๑. แสดงการเกิด-ดับของรูปในภูมิต่าง ๆ ๓๑ ภูมิ
|
||||||||||
|
๒. แสดงการเกิดดับของรูป ๒๘ ตามกาลเวลา
เป็นการแสดงความเป็นไปของรูป ๒๘ ว่า รูปใดเกิดได้และเกิดไม่ได้ ในกาลต่าง ๆ ซึ่งมีอยู่ ๓ กาลด้วยกัน คือ |
|
รูป ๒๘ รูปอะไรที่เกิดได้และเกิดไม่ได้ในกาลทั้งสาม
|
|
|
|
|
๓. แสดงลักษณะการเกิดของรูป (ตามนัยแห่งกำเนิด)
ในบรรดาสัตว์ทั้งหลายที่เกิดในภูมิต่าง ๆ จะมีลักษณะ การเกิดได้ ๔ อย่างด้วยกัน คือ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อัณฑชะกำเนิด และ ชลาพุชะกำเนิด นี้ต่างก็เกิดจากครรภ์เหมือนกัน จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า คัพภเสยยกะกำเนิด | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
การเกิดของรูปในกำเนิด ๔
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เมื่อวิญญาณปฏิสนธิเกิดขึ้นในครรภ์ของมารดาแล้ว รูปต่าง ๆ จะเกิดขึ้นเจริญตามลำดับ ดังนี้ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ทารกที่อยู่ในครรภ์ของมารดา สายสะดือของทารก จะติดกับแผ่นท้องของมารดา เหมือนก้านบัว อาหารที่มารดาบริโภคเข้าไป จะไปเลี้ยงทารกทางสายสะดือ จนกระทั่งเจริญเติบโตครบ ๑๐ เดือน จึง คลอดออกมา | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|