พระอภิธรรม


คัมภีร์ พระอภิธัมมัตถสังคหะ 

 

เป็น คัมภีร์ซึ่งรวบรวมเนื้อความ ของพระอภิธรรมปิฏกทั้ง ๗ คัมภีร์ ไว้โดยย่อ เปรียบเสมือนแบบเรียนเร็ว  พระอภิธัมมัตถสังคหะ แบ่งเป็น ๙ ปริจเฉท (๙ ตอน)


คู่มือการศึกษา พระอภิธรรม 

 

อภิธรรมโชติกะวิทยาลัย มจร 

9 ชั้นเรียน (จูฬตรี - มหาเอก)

 

web link อภิธรรมโชติกะวิทยาลัย


 

แผนภาพ พระอภิธรรม

 

แผนภาพ จิต ๘๙, เจตสิก ๕๒, รูป ๒๘, วิถีจิต ฯลฯ

 


 

วีดีโอ บันทึกการสอน พระอภิธรรม

 

วีดีโอบันทึกการสอนตามหลักสูตร พระอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย


      

พระอภิธรรมเบื้องต้น 

หลักสูตร เรียนพระอภิธรรมทางอินเตอร์เนต

พระอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย


ตำราพระอภิธรรม

       

ข้อสอบพระอภิธรรม อภิธรรมโชติกะวิทยาลัย

หนังสือเรียนพระอภิธรรมทางไปรษณีย์


 

เอกสารประกอบการศึกษาพระอภิธรรม

ชั้น จูฬตรี - มหาเอก


ปัจจัย ๒๔

 

๑. เหตุปจฺจโย คือ เหตุปัจจัย หมายถึงว่า เหตุ ๖ เป็นปัจจัยให้เกิดจิตและ เจตสิก

๒. อารมฺมณปจฺจโย คือ อารัมมณปัจจัย หมายถึงอารมณ์ ๖ เป็นปัจจัยให้ เกิดจิตและเจตสิก

๓. อธิปติปจฺจโย คือ อธิปติปัจจัย หมายถึงความเป็นอธิบดี เป็นปัจจัยให้ เกิดจิตและเจตสิก

๔. อนนฺตรปจฺจโย คือ อนันตรปัจจัย หมายถึงความเกิดติดต่อกันของจิต โดยไม่มีระหว่างคั่น

๕. สมนนฺตรปจฺจโย คือ สมนันตรปัจจัย หมายถึง ความเกิดติดต่อกันตาม ลำดับแห่งจิตโดยไม่มีระหว่างคั่น

๖. สหชาตปจฺจโย คือ สหชาตปัจจัย หมายถึงความที่เกิดพร้อมกัน เกิดร่วม กัน

๗. อญฺญมญฺญปจฺจโย คือ อัญญมัญญปัจจัย หมายถึงความอุปการะซึ่งกัน และกัน

๘. นิสฺสยปจฺจโย คือ นิสสยปัจจัย หมายถึงความเป็นที่อาศัยให้เกิดขึ้น

๙. อุปนิสฺสยปจฺจโย คือ อุปนิสสยปัจจัย หมายถึง ความเป็นที่อาศัยที่มี กำลังมาก

๑๐. ปุเรชาตปจฺจโย คือ ปุเรชาตปัจจัย หมายถึง ความที่เกิดก่อนนั้นช่วย อุปการะแก่ธรรมที่เกิดทีหลัง

๑๑. ปจฺฉาชาตปจฺจโย ปัจฉาชาตปัจจัย หมายถึง ความที่เกิดที่หลังช่วย อุปการะแก่ธรรมที่เกิดก่อน

๑๒. อาเสวนปจฺจโย คือ อาเสวนปัจจัย หมายถึง ความเสพบ่อย ๆ โดยการเกิดหลายครั้ง

๑๓. กมฺมปจฺจโย คือ กัมมปัจจัย หมายถึง ความจงใจกระทำเพื่อให้กิจ ต่าง ๆ สำเร็จลง

๑๔. วิปากปจฺจโย คือ วิปากปัจจัย หมายถึง ผลของกรรม

๑๕. อาหารปจฺจโย คือ อาหารปัจจัย หมายถึงอาหารทั้ง ๔ เป็นปัจจัยให้เกิด นามและรูป

๑๖. อินฺทริยปจฺจโย คือ อินทรียปัจจัย หมายถึง ความเป็นใหญ่ เป็นผู้ครอง เป็นปัจจัยให้เกิดนามและรูป

๑๗. ฌานปจฺจโย คือ ฌานปัจจัย หมายถึง ความเพ่งอารมณ์หรือการเผา ปฏิปักษ์ธรรม

๑๘. มคฺคปจฺจโย คือ มัคคปัจจัย หมายถึง หนทางทั้งทางชั่วและทางชอบ เป็นปัจจัยให้สู่ ทุคคติ สุคติ และนิพพาน

๑๙. สมฺปยุตฺตปจฺจโย คือ สัมปยุตตปัจจัย หมายถึง ธรรมที่ประกอบเข้ากัน ได้ อันได้แก่ จิตกับเจตสิก

๒๐. วิปฺปยุตฺตปจฺจโย คือ วิปปยุตตปัจจัย หมายถึงธรรมที่ประกอบเข้ากัน ไม่ได้ อันได้แก่ รูป กับนาม

๒๑. อตฺถิปจฺจโย คือ อัตถิปัจจัย หมายถึง ความที่ยังมีอยู่ จึงเป็นปัจจัยให้ เกิดนามและรูปได้

๒๒. นตฺถิปจฺจโย คือ นัตถิปัจจัย หมายถึง ความที่ไม่มีแล้ว จึงจะเป็นปัจจัย ให้เกิดนามได้

๒๓. วิคตปจฺจโย คือ วิคตปัจจัย หมายถึง ความที่ปราศจากไปแล้วนั้น จึงเป็นปัจจัยให้เกิดนามได้

๒๔. อวิคตปจฺจโย คือ อวิคตปัจจัย หมายถึง ความที่ยังไม่ปราศจากไป จึง เป็นปัจจัยให้เกิดนามและรูปได้